วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2554

รูปแบบของ กริยา 3 ช่อง Regular Verbs

รูปแบบของ กริยา 3 ช่อง Regular Verbs

กิริยา 3 ช่อง กริยา3ช่อง



1. Verbs บางคำที่ลงท้ายด้วย y ในรูป Present Tense (ปัจจุบัน ช่อง1)
เมื่อเปลี่ยนเป็น Past Tense (อดีต ช่อง2) และ Past Participle (ช่อง3)
จะเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม ed ลงท้าย เช่น

Persent Past Past Participle คำแปล

accompany accompanied accompanied มากับ,ไปกับ
amplify amplified amplified ขยายให้มาก
apply applied applied ร้องเรียน,ขอสมัคร
beautify beautified beautified สวยงาม
cry cried cried ร้องไห้
deny denied denied ปฏิเสธ
envy envied envied อิจฉา
gratify gratified gratified ทำให้สำเร็จ
harry harried harried ทำให้เสียหาย
imply implied implied หมายความว่า
justify justified justified แสดงหลักฐาน
marry married married แต่งงาน
nutrify nutrified nutrified ให้อาหาร
occupy occupied occupied ครอบครอง
pity pitied pitied สงสาร
ratify ratified ratified อนุมัติ
study studied studied ศึกษา
try tried tried พยายาม
unify unified unified รวมกัน
vary varied varied เปลี่ยนแปลงไป
worry worried worried กังวล

2. Verbs บางคำที่ลงท้ายด้วย e ในรูป Present Tense (ปัจจุบัน ช่อง1)
เมื่อเปลี่ยนเป็น Past Tense (อดีต ช่อง2) และ Past Participle (ช่อง3)
เติม d เพียงตัวเดียว เช่น

Persent Past Past Participle คำแปล

amaze amazed amazed ทำให้ประหลาดใจ
bathe bathed bathed อาบน้ำ
care cared cared ระมัดระวัง
dance danced danced เต้นรำ
efforce efforced efforced พยายาม
face faced faced เผชิญหน้า
graduate graduated graduated รับปริญญา
hate hated hated เกลียดชัง
implore implored implored อ้อนวอน
judge judged judged พิพากษา
laze lazed lazed เกลียดคล้าน
masticate masticated masticated เคี้ยว
narrate narrated narrated บรรยาย
ogle ogled ogled ยักคิ้ว
paddle paddled paddled พายเรือ
regale regaled regaled ยกยอ
smile smiled smiled ยิ้ม
tune tuned tuned ตั้งเสียง
whistle whistled whistled เป่านกหวีด
yoke yoked yoked เข้าคู่

3. Verbs ต่อไปนี้เปลี่ยนรูปจาก Present Tense (ปัจจุบัน ช่อง1)
เป็น Past Tense (อดีต ช่อง2) และ Past Participle (ช่อง3)
ด้วยการเติม ed ลงไปตามกฏเกณฑ์ เช่น

Persent Past Past Participle คำแปล

absent absented absented ไม่อยู่
band banded baned รวมพวก
chew chewed chewed เคี้ยว
push pushed pushed เสือก
rain rained rained ฝนตก
step steped steped ก้าวเดิน
talk talked talked พูดคุย
visit visited visited เยี่ยมเยือน
wed weded weded แต่งงาน

"Irregular Verbs"

หมายถึง กริยาที่ผันเป็นรูป Past Tense (อดีต ช่อง2)
และ Past Participle (ช่อง3) โดยการเปลี่ยนสระ หรือ
พยัญชนะหรือคงรูปเดิม เช่น

Persent Past Past Participle คำแปล

arise arose arisen ลุกขึ้น
become became become กลายเป็น
cast cast cast ขว้าง
do did done ทำ
earn earned earned หาเลียงชีพ
feel felt felt รู้สึก
get got got,gotten ได้รับ
hang hung,hanged hung,hanged ห้อย
improve improved improved ทำให้ดีขึ้น
judge judged judged ตัดสิน
know knew known รู้
lead led led นำ,พา
make made made ทำ
neglect neglected neglected ละเลย
open opened opened เปิด
put put put วาง
read read read อ่าน
sell sold sold ขาย
think thought thought คิด
ondo undid undone แก้
win won won ชนะ

"Singular & Plural"

กฏการเปลี่ยนรูปของคำนามจากเอกพจน์เป็นพหูพจน์

กฎข้อที่ 1 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย s,ss,sh,ch,x และ z ให้เติม es ที่ท้ายคำนั้น เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ ความหมาย

abbess abbesses หัวหน้าชี
box boxes กล่อง
church churches โบสถ์
dish dishes จาน
eyelash eyelashes ขนตา
fox foxes สุนัขจิ้งจอก
glass glasses แก้ว
kiss kisses จูบ
lash lashes ขนตา
match matches ไม้ขีดไฟ
sandwich sandwiches ขนมปังประกบหมูแฮมไข่
tax taxes ภาษี
virus viruses พิษ,เชื้อโรคต่างๆ
wish wishes คำอวยพร,คำอธิษฐาน

ยกเว้น

ถ้าคำนามมีตัวสะกดลงท้ายด้วย ch แต่ ch นั้นออกเสียงเป็น k ให้เติม s ได้เลย เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ ความหมาย

epoch epochs ยุค
monarch monarchs พระมหากษัตริย์
stomach stomachs ท้อง,กระเพาะ

กฎข้อที่ 2 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดที่ลงท้ายด้วย y และตัวสะกดก่อนหน้า y เป็นพยัญชนะธรรมดา
(consonant ยกเว้น a,e,I,o,u) ให้เปลี่ยน y เป็น I แล้วเติม es เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ ความหมาย

ability abilities ความสามารถ
body bodies ร่างกาย
cemetery cemeteries ป่าช้าฝังศพ
duty duties หน้าที่,ความเคารพ,ภาษี,อากร
electricity electricities ไฟฟ้า,กระแสไฟฟ้า
factory factories โรงงาน
gallery galleries ทางเดินมีหลังคา,ห้องแสดงภาพ
history histories ประวัติศาสตร์
industry industries อุตสาหกรรม
jury juries คณะกรรมการสำหรับการตัดสินการแข่งขัน
landlady landladies เจ้าของบ้าน,ผู้หญิงเจ้าของโรงแรม
machinery machineries เครื่องกลไก,เครื่องมือ,กลไก
property properties ทรัพย์สมบัติ
secretary secretaries เลขานุการ
tootsy tootsies คู่รักที่เป็นหญิง
utility utilities ประโยชน์,หุ้นบริษัทสาธารณูปโภค
visionary visionaries (คน)ชอบฝัน,สร้างวิมานในอากาศ
waranty waranties การประกัน
zealotry zealotries ความบ้า,ความรุนแรง

กฎข้อที่ 3 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย y และตัวสะกดก่อนหน้า y เป็นสระ
a,e,I,o,u อาจเติม s หลัง y ได้เลยโดยไม่ต้องเปลี่ยน y เป็น I แล้วเติม es เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ ความหมาย

abbey abbeys วัด
essay essays ความพยายาม
galley galleys เรือโบราณในสมัยกรีก,ห้องครัวในเรือ
play plays ละคร,เรื่องละคร
survey surveys แผนที่,กรมสำรวจ,กรมแผนที่
turnkey turnkeys ผู้ถือกุญแจห้องขัง
volley volleys การยิงพร้อมกัน

กฎข้อที่ 4 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย o และตัวสะกดก่อนหน้า o
เป็นพยัญชนะธรรมดา (consonant, ยกเว้น a,e,I,o,u) ให้เติม es ท้าย o เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

cargo cargoes สินค้าที่บรรทุกเรือ
echo echoes เสียงสะท้าน,เครื่องส่อ
hero heroes ผู้กล้าหาญ,วีรบุรุษ,คนเก่ง
mosquito mosquitoes ยุง
negro negroes คนนิโกร
potato potatoes มันฝรั่ง
tobacco tobaccoes ต้นยาสูบ,ยาเส้น
veto vetoes การยับยั้ง
zucchetto zucchettoes หมวกชนิดหนึ่ง

ยกเว้น

คำนามที่มีตัวสะกดลงท้ายด้วย o และตัวสะกดก่อนหน้า o เป็นพยัญชนะธรรมดา
แต่เป็นคำที่เกี่ยวกับเรื่องดนตรี หรือคำพิเศษบางคำ ให้เติม s ได้เลยโดยไม่ต้อง
ใช้ es เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

auto autos รถยนต์
banjo banjos แบนโจ(เครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง)
concerto concertos การเล่นดนตรีชนิดหนึ่งซึ่งใช้เครื่องดนตรี
บางชนิดเป็นหลักและใช้วงใหญ่รับ
dynamo dynamos เครื่องทำกระแสไฟฟ้าชนิดขดลวดหมุนผ่านแม่เหล็ก
memento mementos ของที่ระลึก
halo halos รัศมี,บุญวาสนา,บารมี
piano pianos เปียโน
soprano aopranos นักร้องสตรีเสียงสูง
torso torsos ลำตัว
virtuoso virtuosos ผู้มีความรู้ในศิลปะ,ผู้รักศิลปะ
yo-yo yo-yos ลูกดิ่ง

กฎข้อที่ 5 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย o และตัวสะกดก่อนหน้า o
เป็นสระ ( vowel a,e,I,o,u) อาจเติม S ท้าย o ได้ทันที เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

cameo cameos รูปสลักเล็กๆ สำหรับทำแหงนหรือห้อยคอ
embryo embryos ลูกซึ่งอยู่ในท้อง
patio patios ลานหรือระเบียงติดกับบ้านไม่มีหลังคา
ratio ratios สัดส่วน,อัตราส่วน
studio studios ห้องถ่ายรูป,ห้องส่งวิทยุกระจายเสียง
vireo vireos นกเล็กๆ ชนิดหนึ่ง
zoo zoos สวนสัตว์

กฎข้อที่ 6 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย f หรือ fe ให้เปลี่ยน f
หรือ fe เป็น v แล้วเติม es เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

calf calves น่อง
half halves ครึ่ง
knife knives มีด
leaf leaves ใบไม้
life lives ชีวิต
self selves ตนเอง
thief thieves ขโมย,ผู้ร้ายลักรถ
whaef wharves ท่าสำหรับเรือใหญ่เข้าเทียบ

ยกเว้น

คำนามบางคำที่มีตัวสะกดลงท้ายด้วย f หรือ fe แต่ไม่ต้อง
เปลี่ยน f หรือ fe เป็น ves คือเติม s หลัง f ได้เลย เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

belief beliefs ความเชื่อ,ความไว้วางใจ
chief chiefs หัวหน้า,ผู้บังคับบัญชา,นาย
dwarf dwarfs คน,สัตว์
handkerchief handkerchiefs ผ้าเช็คหน้า
plaintiff plaintiffs บุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพิพากษาคดี
roof roofs หลังคา,เพดานในปาก
safe safes ตู้นิรภัย,ความปลอดภัย

กฎข้อที่ 7 คำนามที่ต้องเปลี่ยนรูปเมื่อเป็นพหูพจน์ เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

child children เด็ก,บุตร
foot feet เท้า,ฝีเท้า
goose geese คนโง่,ห่าน
louse lice เหา,หมัด,ไร
man men ผู้ชาย,คนขี้อาย
ox oxen วัวตัวผู้
penny pence เงินหรือเหรียญของอังกฤษ
tooth teeth ฟัน,ซี่หวี่
upperclassman upperclassmen คนผู้ดี,คนชั้นสูง
woman women ผู้หญิง
yardman yardmen คนทำสวน

กฎข้อที่ 8 คำนามที่รูปของคำมี - (hyphen) เมื่อต้องการจะเปลี่ยนเป็นพหูพจน์
ให้พิจารณาหาส่วนที่สำคัญหรือส่วนที่เป็นความหมายเอกพจน์ (principal)
ของคำนั้นแล้วทำส่วนนั้นให้เป็นพหูพจน์ เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

brother-in-law brothers-in-law พี่เขย,น้องเขย
court-martial courst-martial, ศาลทหาร
court-martials
editor-in-chief editors-in-chief หัวหน้าบรรณาธิการ
father-in-law fathers-in-law พ่อสามี,พ่อตา
mother-in-law mothers-in-law แม่สามี,แม่ยาย
sister-in-law sisters-in-law พี่สะใภ้,น้องสะใภ้
wagon-lit wagons-lits รถนอนของขบวนรถไฟของฝรั่งเศล

กฎข้อที่ 9 ตัวเลข ตัวอักษร และเครื่องหมายในบางกรณี เมื่อจะทำให้เป็นพหูพจน์
ให้เติม 's เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์

2 2's
48 48's
A A's
* *'s
# #'s

ยกเว้น

ถ้าตัวเลขจำนวนนั้น เขียนอยู่ในรูปของตัวอักษร การเปลี่ยนเป็นพหูพจน์
ทำได้โดยเติม s เลย เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์

eight eights
fifty-sixes fifty-sixes
twenty-three twenty-threes
zero zeros, zeroes

กฏข้อที่ 10 ในภาษาอังกฤษแบบเก่าจะมีรูปพหูพจน์สำหรับ
Mr. , Mrs. และ Miss คือ

เอกพจน์ พหูพจน์

Mister (Mr,) Messrs. (มาจาก Messicurs)
Missis (Mrs.) Mmes. (มาจาก Mesdames)
Miss (Ms.) Misses

หมายเหตุ

โอกาสที่จะใช้ เช่น เมื่อจะเขียนจดหมายถึงสามพี่น้องตระกูล Smith
แทนที่จะเขียนว่า Dear Mr. Smith, Mr,Smith and Mr, Smith
อาจเขียนว่า Dear Messrs. Smith แต่ในปัจจุบันจะไม่ค่อยได้พบรูป
แบบนี้แล้ว ในกรณีดังกล่าวอาจเขียนว่า Dear Gentlemen

กฎข้อที่ 11 มีคำนามอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งใช้รูปเดียวกันทั้งเอกพจน์ และ
พหูพจน์ เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

abatis abatis กับดัก,หลุมพราง
corps corps คณะ,เหล่า
deer deer กวาง
fish fish ปลา
gross gross (กำไร) รวมยอด,ทั้งหมด
head (of cattle) head การนับจำนวนสัตว์เป็นรายตัว
Japanese Japanese คนญี่ปุ่น
means (method) means วิถีทาง
sheep sheep แกะ
tinworks tinworks โรงงานแปรรูปดีบุก
volte-face volte-face การหันตัวกลับอย่างรวดเร็ว,
การกลับความเห็น
waterfowl waterfowl นกน้ำ
yuan yuan หยวน,หน่วยเงินของจีน
zuni zuni, zunis ชนเผ่าอินเดียที่อาศัยอยู่ใน
อเมริกาเหนือ

หมายเหตุ

การที่เราจะทราบวว่าคำนั้นมีความหมายเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ต้องดู
จากความหมายของรูปประโยคนั้น

กฎข้อที่ 12 โดยปกติคำนามนับไม่ได้ (uncountable noun) จะอยู่ในรูปเอกพจน์เสมอ
(ไม่มีรูปพหูพจน์) แต่ก็มีคำนามนับไม่ได้บางคำที่มีรูปของคำเหมือนเป็นพหูพจน์แต่ที่จริง
เป็นเอกพจน์ เช่น

เอกพจน์ คำแปล

econnmics เศรษฐกิจ,เศรษฐศาสตร์
measles หลักจรรยา,ธรรมะ,จริยศาสตร์
news เรื่องใหม่,ข่าว,ความรู้ใหม่
politics วิชาการปกครอง

ตัวอย่าง

Politics is a vital field.
Economics is an interesting field.

กฎข้อที่ 13 มีคำนามบางคำที่จะอยู่ในรูปพหูพจน์เท่านั้น (ไม่มีรูปเอกพจน์) คำนามประเภท
นี้มักจะเป็นชื่อสิ่งของที่ประกอบด้วย 2 ส่วนที่มีลักษณะคล้ายๆ กัน เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

auspices ฤกษ์,ความอุปถัมภ์
binoculars กล้องส่องทางไกล
clothes เสื้อผ้า,เครื่องนุ่งห่ม
glasses แว่นตา
headquarters กองบัญชาการ,สำนักงานใหญ่
pajamas เสื้อนอน
riches ทรัพย์
spectacles แว่นตา
tights เสื้อกางเกงยืดแนบเนื้อ
underpants กางเกงใน
victuals อาหาร,เสบียง
willies ระบบประสาท,อาการอย่างหนึ่งทางประสาท

กฎข้อที่ 14 มีคำนามบางคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษาอื่น เช่น กรีก หรือลาติน จะมี
กฎการเปลี่ยนรูปเป็นพหูพจน์ที่แปลกไป คือ

14.1 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย is ต้องเปลี่ยน is เป็น es เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ พหูพจน์

analysis analyses การวิเคราะห์
basis bases หลักสำคัญ,เกณฑ์,มาตรฐาน
crisis crises ขั้นฉุกเฉิน,วิกฤตกาล
hypothesis hypotheses สมมติฐาน
oasis oases ที่ที่มีน้ำและต้นไม้กลางทะเลทราย
parenthesis parentheses ข้อความในวงเล็บ
synopsis synopses ประมวลเรื่อง,สรุปความ,ย่อเรื่อง
thesis theses ข้อสมมติ,วิทยานิพนธ์

14.2 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย um ต้องเปลี่ยน um เป็น a และ us เป็น i เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

agendum agenda,agendums ระเบียบวาระการประชุม
nucleus nuclei จุดศูนย์กลาง,แก่น
radius radii รังสีของดวงอาทิตย์,รัศมีของวงกลม
stimulus stimuli เครื่องเร้า,เครื่องกระตุ้น
uterus uteri,uteruses มดลูก
villus villi อวัยวะในลำไส้ใหญ่

14.3 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย a ต้องเติม e ท้าย a เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

alumna (female) alumnae นิสิตเก่า (หญิง)
formula formulae,formulas เกณฑ์,กฎ,หลัก,สูตร
tibla tiblae กระดูกหน้าแข้ง,หน้าแข้ง
uvula uvulae ลิ้นไก่
vertebra vertebrae ข้อกระดูกสันหลัง

14.4 ถ้าคำนามนั้นมีตัวสะกดลงท้ายด้วย ex หรือ ix ต้องเปลี่ยน ex หรือ ix เป็น ices เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

appendix appendices, ภาคผนวกของหนังสือ,
appendixes ส่วนต่อท้าย
index indexes, เครื่องชี้,สารบัญ,
indices ดัชนี

กฎข้อที่ 15 ประเภทคำพิเศษที่ไม่เข้ากฎใดๆ ทั้งสิ้น เช่น

เอกพจน์ พหูพจน์ คำแปล

abducens abducentes ชื่อเส้นประสาทจากสมองถึง
ดวงตา
tonneau tonneaus, ตอนหลังของรถยนต์สองตอน
tonneaux
trauma traumas, แผล
traumata



"Tense"

หมายถึง การแสดงเวลาของกริยาในประโยคว่า ทำอยู่ขณะนี้ ได้ทำแล้วหรือจะทำต่อไป
ดังนั้น Tense จึงมีส่วนสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ Verb เพราะเมื่อรูปของ Verb เปลี่ยนไป
ก็มีผลทำให้ Tense เปลี่ยนตามไปด้วย

Present Simple Tense
(ปัจจุบันธรรมดา)

โครงสร้าง

[ Subject(ประธาน) + V.1 + Object(กรรมของกริยา) ]

ตัวอย่าง

- Affirmative Statements (ประโยคบอกเล่า)

I eat fresh fruit.
He eats fresg fruit.

หมายเหตุ

ประธานเป็นพหูพจน์ไม่ต้องเติม s เติม s เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ เฉพาะประโยคบอกเล่า

- Negative Statements (ประโยคปฏิเสธ)

I don't eat fresh fruit.
He doesn't eats fresg fruit.

หมายเหตุ

ประธานเป็นพหูพจน์ ใช้ don't เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใช้ doesn't

- Yes / No Questions (ประโยคคำถาม โดยใช้ Yes/No)

Do you eat fresh fruit?
Does he eat fresh fruit?

หมายเหตุ

ประธานเป็นพหูพจน์ ใช้ do เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใช้ does

- Short Answers (การตอบ Yes/No แบบสั้น)

Yes, I do. , No, I don't.
Yes, he does. , No, he doesn't.

หมายเหตุ

ประธานเป็นพหูพจน์ ใช้ do เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใช้ does

- Information Questions (ประโยคคำถาม โดยใช้ Wh )

who do you teach on Tuesdays?
What does he eat?
where do they travel in the winter?

หมายเหตุ

ประธานเป็นพหูพจน์ ใช้ do เมื่อประธานเป็นเอกพจน์ใช้ does

Present Continuous Tense
(ปัจจุบันกำลังกระทำ)

โครงสร้าง

[ Subject(ประธาน) + is,am,are + Verb (รูปเดิม) Object(กรรมของกริยา) ]

1 ความคิดเห็น: